5 กันยายน 2555

8. รัก ประทับใจ ยิ่งใหญ่ สง่างาม

สวย สดใส ยิ่งใหญ่ สง่างาม เหนือคำบรรยาย
สุวิชา โน ภวํ โหติ  ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

6 กันยายน 2555
วันครบรอบวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
 ภาพที่ 7

ภาพที่ 8 ด.ช. ทวีศักดิ์ บัวทอง
นักเรียนโรงเรียนหาดใหญ่ (อักษรย่อ ส.ข. ๓)
มชญ.รุ่นสุดท้าย 2507

ตำแหน่งครู วิทยะฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
หัวหน้างานนโยบายและแผน โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
ภาพที่ 9 ในหอประชุมราชาวดี 6 กันยายน 2555

ภาพที่ 10  พื้นทราย ทะเล คลื่น อากาศ แสงแดดและท้องฟ้า เป็นธรรมชาติสัมพัทธ์เมื่อสรรพสิ่ง
ทั้งมวลถูกกำหนดไว้ด้วยธรรมชาติสัมบูรณ์
ภาพที่ 11 " Physics from the sky "

20 สิงหาคม 2555

7. Electromagnetic wave


นายช่างวิทยุผู้ยิ่งใหญ่
Source:(www.google.co.th, 2012)

กราบ  ศ.ดร.สุธีร์ อักษรกิติ์ มา ณ โอกาสนี้และขอให้ท่านมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปด้วยครับ-ทวีศักดิ์

ศ.ดร.สุธีร์ อักษรกิตติ์ กับ ครูโก้ ทวีศักดิ์

ศิษย์ครูโก้ ทุกคน อ่านให้จบ นายช่างวิทยุผู้ยิ่งใหญ่ โดย พลตำรวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์

                             Heinrich Rudolf Hertz(1857 – 1894). [www.yousigma.com]
                 He was a German physicist who clarified and expanded James Clerk Maxwell's electromagnetic theory of light, which was first demonstrated by David Edward Hughes using non-rigorous trial and error procedures. Hertz is distinguished from Maxwell and Hughes because he was the first to conclusively prove the existence of electromagnetic waves by engineering instruments to transmit and receive radio pulses using experimental procedures that ruled out all other known wireless phenomena. The scientific unit of frequency — cycles per second — was named the "hertz" in his honor.(read more on www.wikipedia.org, 2012)
การทดลองของเฮิรทซ์
Hertz Experiment.(www.people.seas./...2012)
Crytal Radio Circuit

Source: (www.google.co.th, 2012)
คำสำคัญ
                 ทฤษฎีคลื่นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวล สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า การเหนี่ยวนำ การค้นพบของเฮิรทซ์ การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่นพาหะ คลื่นวิทยุ-โทรทัศน์ คลื่นดิน คลื่นฟ้า ระบบเอเอ็ม-เอฟเอ็ม คลื่นแสง แสงเลเซอร์ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา โพลาไรเซชั่นของแสง แสงโพลาไรซ์ มุมบรูสเตอร์(Brewster angle)
Key performances :
1. ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
2. การค้นพบของเฮิรทซ์
3. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4. โพลาไรเซชั่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและของแสง
แนวคิดหลัก #1
                 ผลการค้นพบของ Michele Faraday เกี่ยวกับกระแสเหนี่ยวนำในขดลวด เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก มีผลให้เกิดกระแสเปลี่ยนแปลง แสดงถึงแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง ยังผลให้สนามไฟฟ้าตามทิศกระแสเปลี่ยนแปลง และการค้บพบของ Hans Cristian Oersted  เกี่ยวกับกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆตัวนำ หากเมื่อให้กระแสเปลี่ยนแปลง สนามแม่เหล็กรอบตัวนำจึงมีค่าเปลี่ยนแปลง นำไปสู่ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ ซึ่งท่านได้ตั้งก่อนมีการค้นพบจริงจากสมการคณิตศ่าสตร์ชั้นสูง ผู้พบจริงๆตามที่ท่าน Maxwell ทำนายไว้คือท่าน Henrich Hertz
แนวคิดหลัก # 2
              ปี ค.ศ. 1887 Heinrich Rudolf Hertz   ได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อตรวจสอบแนวคิดของ แมกซ์เวลล์ เขาใช้การเกิดประกายไฟในช่องว่างระหว่างขั้วไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงเป็นเครื่องผลิตคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกายไฟที่เกิดขึ้นในช่องว่าง จะสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของประจุไฟฟ้าในช่องว่างดังกล่าว  และเพื่อยืนยันการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  เขาใช้ลวดอีกเส้นหนึ่งโค้งเป็นวงกลม และทำให้มีช่องว่างระหว่างปลายลวด จากนั้นนำลวดอันที่สองมาอยู่ใกล้ช่องประกายไฟ  ปรากฎว่า มีประกายไฟเกิดขึ้นระหว่างช่องว่างที่2 ด้วยซึ่งแสดงให้เห็นชัดเจนว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากช่องแรกแผ่มาทำให้เกิดประกายไฟในช่องที่ 2 ซึ่งทำหน้าที่เหมือนสายอากาศตรวจสอบ  การทดลองดังกล่าวสามารถสนับสนุนทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ของแมกซ์เวลล์ นอกจากนี้เฮิรตซ์ยังได้ทำการทดลอง จนได้ผลสรุปว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความเร็วเท่ากับ ความเร็วของแสง ต่อมาได้มีการสำรวจพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ต่างมากมาย ความถี่ต่าง ๆที่ได้พบนี้เรียกว่า สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum)[www.google.co.th,2012]
แนวคิดหลัก # 3
                  พิจารณาด้วยภาพต่อไปนี้

                                            Source: (www.google.co.th/, 2012)

แนวคิดหลัก # 4
               ภาพแสดงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงโพลาไรซ์

ภาพ A คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า H เป็นสนามแม่เหล็กและ E เป็นสนามไฟฟ้า
 
ภาพ B องค์ประกอบสนามไฟฟ้าในแนวดิ่ง
Source :(http://www.hs8jyx.com, 2012)
ภาพ C ขนาดสนามไฟฟ้าผ่านแผ่นโพลารอยด์ Analyzer
Source: (google.co.th, 2012)
                Brewster's angle (also known as the polarization angle) is an angle of incidence at which light with a particular polarization is perfectly transmitted through a transparent dielectric surface, with no reflection. When unpolarized light is incident at this angle, the light that is reflected from the surface is therefore perfectly polarized. This special angle of incidence is named after the Scottish physicist Sir David Brewster (1781–1868).Read more to wikipedia.org
                 ภาพ D มุมบรูสเตอร์และรังสีโพลาไรซ์

ภาพ E สนามไฟฟ้าจากปรากฏการณ์โพลาไรเซชัน
Source: (google.co.th, 2012)
นักเรียนศึกษาได้จาก Click : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

23 พฤษภาคม 2555

6. วิชาฟิสิกส์ ชั้น ม.6 ภาคเรียนที่ 1/2555

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คาบ และน้ำหนักคะแนน

                                                 Source : (Univ.Physics.Serways,2005)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จำนวน
คาบ
น้ำหนักคะแนน
1.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต
8
8
2.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสตรง
12
14
3.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้า
12
10
4.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสสลับและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
12
10
5.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับฟิสิกส์อะตอม
12
12
6.  ใช้กระบวนการสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้น และมีส่วนร่วมอภิปรายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย แก้ปัญหาและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เกี่ยวกับฟิสิกส์นิวเคลียร์
12
10
7.  เกิดเจตคติ มีจิตวิทยาศาสตร์และเรียนรู้ด้วยหลัก เก่ง ดีและมีความสุข
-
6
รวม 1-7
68
70
8.  Summative test(Midterm=10,Final=20. Sum=30)
4
30
                                                                                                 รวม 1-8
72
100

 Domain:
1.     Cognitive domain(Knowledge)
2.     Effective domain(Process)
3.     Psychomotor domain(Attitude)
Teaching  model:
            Direct Instruction Model, Minds-On Physics(MOP) and Scientific Method

* กำหนดการ  *
   วันศุกร์ที่ 7  กันยายน 2555 กิจกรรม 6/4 และ 6/5 มีดังนี้
    1.  ทดสอบเก็บคะแนน ทุกบท เวลา 1 คาบ 10 ข้อ แบบเขียนตอบ
    2.  ส่งการบ้าน 1 และ การบ้าน 2


* ผลการวัดและประเมินสภาพจริงตามระเบียบวิธีการวัดและประเมินผล นับถึงวันที่ 14 กันยายน 2555
   ตารางที่ 2 แสดงคะแนนมาตรฐาน Normalized T-Score นักเรียน ม.6/4, 6/5 โดยเรียงตามลำดับคะแนน ดังนี้